วันพระ2564 กค64 – ธค64

รวมวันพระ ทำบุญ ปี 2564 ครึ่งปีหลังตั้งแต่ เดือน มิถุนายน – ธันวาคม 2564 ครบทุกวัน วันพระคือวันที่มีการทำบุญ ตักบาตร ถวายสังฆทาน นั่งสมาธิ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ ละเว้นความชั่ว ละเว้นอบายมุขต่างๆ ทำตัวให้มีประโยชน์ต่อสังคม ปล่อยนกปล่อยปลา ฟังธรรมเทศนา สนทนาธรรมกับพระสงฆ์ รักษาศีล มีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ๆ มีพระสงฆ์คอยรับถวายสังฆทาน
เนื้อหาในบทความนี้
- รวมวันพระ ทำบุญ ปี 2564 ครึ่งปีหลังตั้งแต่ เดือน มิถุนายน – ธันวาคม 2564 ครบทุกวัน
- คำอธิษฐานก่อนตักบาตร
- ข้อควรระวังการทำบุญในปี 2564
วันพระ กค 64 – ธค 64
เดือนกรกฎาคม 2564
วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนแปด (๘) ปีฉลู
วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2564 ตรงกับ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนแปด (๘) ปีฉลู
วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีฉลู
วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีฉลู ตรงกับวันพระใหญ่ คือ “วันอาสาฬหบูชา”
วันอาทิตย์ที่ 25 กรกฎาคม 2564 ตรงกับ แรม ๑ ค่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีฉลู เป็นวัน “วันเข้าพรรษา”
เดือนสิงหาคม 2564
วันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีฉลู
วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม 2564 ตรงกับ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนแปดหลัง (๘๘) ปีฉลู
วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนเก้า (๙) ปีฉลู
วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนเก้า (๙) ปีฉลู
วันอังคารที่ 31 สิงหาคม 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนเก้า (๙) ปีฉลู

สวัสดีวันจันทร์ | สวัสดีวันอังคาร | สวัสดีวันพุธ | สวัสดีวันพฤหัสบดี | สวัสดีวันศุกร์ |
สวัสดีวันเสาร์ | สวัสดีวันอาทิตย์ | สวัสดีวันพระ | สวัสดีปีใหม่ | สุขสันต์วันเกิด
เดือนกันยายน 2564
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน 2564 ตรงกับ แรม ๑๔ ค่ำ เดือนเก้า (๙) ปีฉลู
วันอังคารที่ 14 กันยายน 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนสิบ (๑๐) ปีฉลู
วันอังคารที่ 21 กันยายน 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ (๑๐) ปีฉลู
วันพุธที่ 29 กันยายน 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนสิบ (๑๐) ปีฉลู
วันพระเดือนตุลาคม 2564
วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2564 ตรงกับ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ (๑๐) ปีฉลู
วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปีฉลู
วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปีฉลู ตรงกับวันพระใหญ่ คือ “วันออกพรรษา”
วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปีฉลู
วันพระเดือนพฤศจิกายน 2564
วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน 2564 ตรงกับ แรม ๑๔ ค่ำ เดือนสิบเอ็ด (๑๑) ปีฉลู
วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนสิบสอง (๑๒) ปีฉลู
วันศุกร์ที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบสอง (๑๒) ปีฉลู ตรงกับวันสำคัญคือ “วันลอยกระทง”
วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนสิบสอง (๑๒) ปีฉลู
วันพระเดือนธันวาคม 2564
วันเสาร์ที่ 4 ธันวาคม 2564 ตรงกับ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบสอง (๑๒) ปีฉลู
วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือนอ้าย (๑) ปีฉลู
วันอาทิตย์ที่ 19 ธันวาคม 2564 ตรงกับ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนอ้าย (๑) ปีฉลู
วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม 2564 ตรงกับ แรม ๘ ค่ำ เดือนอ้าย (๑) ปีฉลู
คำอธิษฐานก่อนตักบาตร
ตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา มีเป็นหมายเพื่อให้มนุษย์ปลดเปลื้องตนเองจากทุกข์ มีจิตใจเป็นอิสระเหนือทุกข์ทุกอย่าง (พระนิพพาน) หลักการดำเนินชีวีตของชาวพุทธนั้นต้องสอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าว ซึ่งพระโบราณาจารย์ท่านจึงบัญญัติคำ อธิษฐานที่เป็นสากลนิยมไว้ว่า
“อิ ทัง ทานัง สีละวันตานัง ภิกขูนัง นิยยาเทมิ สุทินนัง วะตะ เม ทานัง นิพพานะปัจจะโย โหตุ อะนาคะเต กาเล ฯ ข้าพเจ้าขอน้อมถวายทานนี้แด่พระสงฆ์ผู้มีศีล ขอท่านที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้ว จงเป็นเหตุให้ถึงพระนิพพาน ในอนาคตกาล เบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ”
อีกบทหนึ่งเป็นคำอธิษฐานถึงพระสังฆรัตนะ ว่า “นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง, สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สังจะวัชเชนะ, โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา ฯ ที่พึ่งอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยคำสัตย์ นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ ฯ”
อานิสงค์ของการสวดมนต์ 7 ประการ ที่มีบัญญัติไว้ในพระไตรปิฏก
ปี 2564 นี้ยังมีการแพร่ระบาดของโควิด19 ประชาชนควรติดตามข่าวสาร และป้องกันตนเองตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข
อย่าลืม เป็นเพื่อนกับเราบนเฟสบุ๊กกรุ๊ปสวัสดี เพื่อติดตามข่าวสารล่าสุด กิจกรรมถูกใจวัยเก๋า ด้วยนะครับ

เป็นเพื่อนกับเรา
รับข้อมูลล่าสุด และติดตามกิจกรรมที่น่าสนใจของสวัสดี
You must be logged in to post a comment.